วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 15 วันที่ 11 มีนาคม 2555









สอบปฏิบัติการสอนวิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


หน่วยผลไม้ เรื่องรสชาติของผลไม้






ครั้งที่ 14 วันที่ 31 กุมภาพันธ์ 2555

อาจารย์ได้นัดมาสอบใน วันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม 2555 และอาจารย์ได้บอกเกี่ยวกับเกณฑ์การสอน ต้องมี
- การบูรณาการ
- สื่อ
- เทคนิดการสอน
- การประเมิน
และจากนั้นอาจารย์ได้ตรวจสื่อเกี่ยวกับการสอนที่เพื่อนๆและผมนำมา

ครั้งที่ 13 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555

วันนี้อาจารย์ทบทวนมาตรฐานการเรียนรู้คณติศาสตร์ ดังนี้
สาระที่ 1 จำนวน
- การิ่น การเขียนเลขฮินดูอาราบิก
- การเปลียบเทียบจำนวน
- การเรียงลำดับ
สารที่ 2 การวัด
สารที่ 3 เรขาคณิต
- รูปทรง
- ตำแหน่ง
- ทิศทาง
- 2 มิติ
- 3 มิติ
- การจำแนก
สารที่ 4 พีชคณิต
- แบบรูป
- ความสัมพันธ์
สารที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สารที่ 6 ทักษะและกระบานการทางคณิตศาสตร์
- ให้เหตุผลในการตัดสินใจ
- สรูปได้
- ใช้ภาษาในการนำเสนอได้

วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 12 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555

วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มมาตรวจแผนการกับอาจารย์และให้นักศึกานำคำแนะนำไปปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้นกับแผนการสอนของแต่ระคน เพื่อจะได้ไม่เกิดความผิดพลาดในการสอน และถ้านักศึกษาไม่เข้าใจประเด็นไหนสามารถถามอาจารย์ได้

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ครั่งที่ 11 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555

หัวใจของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ คือ สติปัญญา
- อาจารย์ตรวจแผนการสอนกลุ่มของแต่ละกลุ่ม โดยดูเนื้อหาของกิจกรรม การจัดประสบการณื สื่อ และพัฒนาการของเกปฐมวัย
- อาจารย์ไดพ้แนะนำในการเขียนแผนการสอน ในขั้นนำ และขั้นสรุป ว่าต้องให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
- ในท้ายคาบอาจารย์ได้หมอบหมายงานให้นัดศึกษาไปแตกหน่วยการสอนของตนเองป็น mind map
- จากนั้นอาจารย์ได้พูดเกี่ยวกับ กหารเขียนแผนเสริมประสบการณ์สิ่งสำคัญคือ
ส่งเสริมสติปัญญาด้านเนื้อหาสาระ
ส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์
ส่งเสริมด้านคณิตศาสตร์
ส่งเสริมด้านภาษา

ครั่งที่ 10 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555

วันนี้อาจารย์พูดเรื่องงานกีฬาสีปฐมวัย
อาจารย์ตรวจแผนนักศึกษา
อาจารย์แนะนำแผนขั้นนำคำคล้องจองที่พูดปากเปล่าจะทำให้เด็กจำ
กิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ได้แก่
- การวัด
- น้ำหนัก
- ปริมาณ
- เวลา
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะได้แก่
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และเคลื่อนที่
- ฟังและปฏิบัติตามคำบรรยาย
- เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์
ส่วนประกอบของการเคลื่อนไหว
- เคลือนไหวพื้นฐาน
- กิจกรรมสัมพันธ์กับเนื้อหา
- เกมการศึกษา

ครั้งที่ 9 วันที่ 31 มกราคม 2555

- วันนี้อาจารย์บอกนักศึกว่าคำพูดทุกคำพูดทำให้เด็กมีความเข้าใจในคณิตศาสตร์ได้ด้วยการสอกแทรกคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
คณิตศาสตร์เครื่องมือในการดำรงชีวิติประจำวัน
คณิตศาสตร์มีเกณฑ์ในการคิดแยดจำกลุ่มผสมผสานได้ตลอดเวลา
ตัวเด็ก
ความสามารถ
ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
- อาจารย์ถามว่านักศึกษาว่านึกถึงอะไรที่เกี่ยวกับตัวเด็ก
การเล่น
การแต่งกาย
อาหาร
สุขภาพ
ครอบครัว
กิจกรรม
- อาจารย์บอกว่าถ่าครูใช้คำถามปลายเปิดจะทำให้เด็กกล้าตอบ
- อาจารย์ถามว่าหลักสูตรปฐมวัย คืออะไร นักศึกษาตอบ เป็นแนวทางการจัดประสบการณ์ที่ครูว่างแผนและเด็กสนใจโดยให้เด็กลงมือกระทำเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

ตัวอย่างการตั้งคำถามกับเด็ก
- อยากให้เป็นอะไร
- พบเห็นเมื่อไร
- หน้าตาเป็นอย่างไร
- ลักษณะอย่างไร

สสวท คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ วิทยาศาสตร์กายภาพและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
เกณฑ์มาตรฐานคณิตศาสตร์ มี 4 เรื่อง
- จำนวนและการดำเนินการ
- การวัดเลขเชิงปริมาณ
- เรขาคณิต
- พีชคณิต
ความหมายของการรวม คือ การรวมจำนวนสิ่งของให้เป็นกลุ่มเดียวกันที่มีผลรวมไม่เกิน 10

ครั้งที่ 8 วันที่ 24 มกราคม 2555

อาจารย์ให้การบ้าน

พิมพ์ ชื่อจริง (สุขสันต์) ขนาดตัวหนังสือ 36 ขนาดกระดาษ
ชื่อเล่น (เติ้ล) ขนาดตัวหนังสือ 36 ขนาดกระดาษ
วัน (อาทิตย์) ขนาดตัวหนังสือ 36 ขนาดกระดาษ กว้าง 1 นิ้ว ยาว 1 นิ้วครึ่ง
เลขที่ 1 ขาดกระดาษ 1x 1นิ้ว
สีประจำวัน (แดง) ขนาด 2x4 นิ้ว
ใส่กระดาษ เทา - ขาว

ครั้งที่ 7 วันที่ 17 มกราคม 2555

ไป ปฏิบัติการวิชาชีพครู 1 ที่โรงเรียนอนุบาลนนทบุรี ( อาจารย์นัดเรียนชดเชยภายหลัง )

ครั้งที่ 6 วันที่ 10 มกราคม 2555

ไป ปฏิบัติการวิชาชีพครู 1 ที่โรงเรียนอนุบาลนนทบุรี ( อาจารย์นัดเรียนชดเชยภายหลัง )

ครั้งที่ 5 วันที่ 3 มกราคม 2555

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนคราฟเนื่องจากเป้นวันหยุดชดเชยวันปีใหม่ 2555 (อาจารย์นัดเรียนชดเชยที่หลัง)

ครั้งที่ 4 วันที่ 27 ธันวาคม 2554

วันนี้อาจารย์สอนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
หน่วยเรื่อง ผลไม้
- รสชาติ
- ชื่อ ลักษณะ
- หลักในการหรับประทานผลไม้
- ประโยชน์ และโทษ
- ขยายพันธ์
อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนคิดกิจกรรมแล้วเขียนแผนเป็นวันของตนเอง พร้อมทั้งแตกเนื้อหากิจกรรมเป็นวันของตนเอง และให้พัฒนาเด็กทั้ง 4 ด้าน

ครั้งที่ 3 วันที่ 20 ธันวาคม 2554

กิจกรรมการเรียนการสอน
วันนี้อาจารย์ทบทวนความหมายของวิทยาศาสตร์ และ การบริหารการจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสำคัญในการจัดการเรียนการสอน
เครื่องมือที่ใช้ คือ ภาษา
แนวคิดของการศึกษา
กีเซล พัฒนาเด็กเป็นไปตามแบบแผนและเป็นขั้นตอน
อิริคสัน
เพียเจย์
ฟรอยด์
ดิวอี้
เฟรอเบล
เรกจิโอ
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การรู้จักตัวเลข 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 การนับปากเปล่าต้องมาก่อน การนับเลข สิ่งที่ต้องนับเกี่ยวข้องกับวัน และต้องมีการวางแผน คณิตศาตร์จะต้องเป็นของจริง จับต้องได้
2. รูปร่างรูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ให้เด็กได้รู้จักความหมาย ก่อนที่จะนำเข้าสู่สัญลักษณ์
3. การนับ การนับปากเปล่า การนับที่จะบอกจำนวน เช่นให้เด็กนับ 1 2 3 4 5 จากนั้นให้เด็กเดินไปหยิบตัวเลข ทั้ง 5 ลำดับ มาวาง
4. การชั่ง ตวง วัด หาเครื่องมือที่มาตรฐานมากขึ้น
5.การเพิ่มและลดจำนวน เพิ่มจำนวนให้มีขั้นตอนเป็น concept
6. รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข จะต้องเป็นเชิงความหมายก่อน
7. จำแนกประเภท เช่น มีปีก ไม่มีปีก มีดอก ไม่มีดอก
8. การจัดหมวดหมู่
9.การเปรียบเทียบ
10.การเรียงลำดับ
11. เวลา พื้นที่

หลักการสอน
เปรียบเทียบ ทบทวน สิ่งที่มีในชีวิตประจำวัน

เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้
1.การนับ
2.ตัวเลข
3.การจับคู่
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.การจัดลำดับ
7.รูปทรง
8.การวัด

ครั้งที่ 2 วันที่ 13 ธันวาคม 2554

เครื่องมือในการสื่อสาร คือ จำนวนและการวัด

คณิตศาสตร์ หมายถึง เครื่องมือและสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา เช่น ในห้องเรียนมีหลอดไฟ พัดลม ประตู กระจก โต๊ะ เก้าอี้ สายไฟ

มาตรฐานของคณิศาสตร์ คือ การควบคุมคุณภาพ

มาตรฐานในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คือ เกณฑ์ในการที่เด็กจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในช่วงของเวลา จำนวนการนับ

กิจกรรมการเรียนรู้
1.การเปรียบเทียบ
2.ปริมาณ
3.รูปร่าง รูปทรง
4.การเรียงลำดับ
5.การจำแนก
6.ความเหมืนความต่าง
7.จำนวน

คณิตศสาตร์สำคัญอย่างไร?
สำคัญ เพราะเป็นเรื่องในชีวิตประจำวัน เช่น การใช้จ่าย การซื้อของ

ครั้งที่ 1 วันที่ 6 ธันวาคม 2554

วันนี้อาจารย์ปฐมนิเทศนักศึกษาและอาจารย์ชี้แจงรายระเอีอดแนวการสอนในวิชาคณิตศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย แล้วอาจารย์ให้นักศึกษาไปคนหาหนังสือในห้องสมุดที่เกี่ยวกับคณิตศาตร์ให้จดบันทึกมาให้อาจารย์ดังนี้
ชื่อหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง
เลขทะเบียนหนังสือ
เลขหน้าหนังสือ